บันทึกครั้งที่ 1
วัน จันทร์ ที่ 29 สิงหาคม พ. ศ. 2559 เวลา 08.30 – 12.30 น.
คุณครูแจกใบปั้มการเข้าเรียนให้กับนักศึกษา
แล้วคุณครูได้อธิบายข้อมูลแนวการสอนและเกณฑ์การให้คะแนนในรายวิชา
ต่อมาคุณครูได้แจกชีทเพลงสำหรับเด็กปฐมวัยเป็นภาษาอังกฤษ
พร้อมทั้งสอนนักศึกษาร้องเพลง มีทั้งหมด 4 เพลง ได้แก่
1. เพลง Hello
2. เพลง Fly Fly the Butterfly
3. เพลง Incy Wincy spider
4. เพลง Good morning
1. เพลง Hello
2. เพลง Fly Fly the Butterfly
3. เพลง Incy Wincy spider
4. เพลง Good morning
เนื้อหา
ความหมายของความคิดสร้างสรรค์
•
Jellen and Urban
ความคิดสร้างสรรค์เป็นการคิดอย่างอิสระในเชิงนวัตกรรม
จินตนาการ
•
De Bono
ความสามารถในการคิดนอกกรอบเพื่อนำมาใช้แก้ปัญหา
•
อุษณีย์ โพธิสุข
กระบวนการทางปัญญาระดับสูงที่ใช้กระบวนการทางความคิดหลายๆ
อย่างมารวมกัน เพื่อสร้างสรรค์สิ่งใหม่หรือแก้ปัญหาที่มีอยู่ให้ดีขึ้น
และต้องมีอิสรภาพทางความคิด
คุณค่าของความคิดสร้างสรรค์
•
คุณค่าต่อสังคม
•
คุณค่าต่อตนเอง
•
ทำให้เกิดความสนุกสนาน
เพลิดเพลิน
•
ช่วยลดความเครียดทางอารมณ์
•
มีความภูมิใจและเชื่อมั่นในตนเอง
•
นำมาซึ่งความเป็นผู้นำ
•
ตะหนักถึงคุณค่าของตนเอง
•
ช่วยส่งเสริมสุนทรียภาพ
•
สร้างนิสัยในการทำงานที่ดี
•
พัฒนากล้ามเนื้อ
•
เปิดโอกาสให้เด็กได้ค้นคว้า
ได้ทดลอง ได้ประสบความสำเร็จ
องค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์
Guilford ได้แบ่งองค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์เป็น 4 ด้าน
1. ความคิดคล่องแคล่ว (Fluency)
•
ด้านถ้อยคำ (Word Fluency)
•
ด้านการเชื่อมโยงความสัมพันธ์
(Association Fluency)
•
ด้านการแสดงออก
(Expressional Fluency)
•
ด้านการคิด (Ideation Fluency)
2. ความคิดริเริ่ม (Originality)
•
ความคิดแปลกใหม่และแตกต่างไปจากความคิดธรรมดา
หรือแตกต่างจากบุคคลอื่น
3. ความคิดยืดหยุ่น (Flexibility)
•
ความคิดยืดหยุ่นที่เกิดขึ้นทันที
(Spontaneous Flexibility)
•
ความคิดยืดหยุ่นทางการดัดแปลง
(Adapture Flexibility)
4. ความคิดละเอียดลออ (Elaboration)
•
ความคิดที่เกี่ยวกับรายละเอียดที่ใช้ในการตกแต่ง
•
เพื่อทำให้ความคิดริเริ่มนั้นสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
พัฒนาการทางความคิดสร้างสรรค์
Torrance ได้แบ่งออกเป็น
3 ระยะ
•
ระยะแรกเกิด – 2 ขวบ
•
ระยะ 2 -4 ขวบ
•
ระยะ 4-6 ขวบ
•
แรกเกิด-2ปี มีจินตนาการ สำรวจสิ่งแวดล้อมรอบตัว
•
2-4 ปี ตื่นตัวกับสิ่งใหม่
ใช้จินตนาการกับการเล่น ยึดตัวเองเป็นศูนย์กลาง ช่วงความสนใจสั้น
•
4-6 ปี สนุกกับการวางแผน
การเล่น การทำงาน ชอบเล่นสมมติเชื่อมโยงสิ่งต่างๆได้
แต่จะเข้าใจเหตุและผลได้ไม่ดีนัก
ลำดับขั้นของพัฒนาการทางความคิดสร้างสรรค์
Torrance ได้แบ่งเป็น 5
ขั้น
•
ขั้นที่ 1 แสดงออกอย่างอิสระทางความคิด ไม่คำนึงถึงคุณภาพ
•
ขั้นที่ 2 งานที่ผลิตต้องอาศัยทักษะบางอย่าง
•
ขั้นที่ 3 ประดิษฐ์สิ่งใหม่ๆโดยไม่ซ้ำใคร
•
ขั้นที่ 4 ปรับปรุงขั้นที่ 3
•
ขั้นที่ 5 คิดสิ่งที่เป็นนามธรรมขั้นสูงสุด คิดหลักการใหม่ๆ
ประโยชน์ของความคิดสร้างสรรค์
•
ก่อให้เกิดสิ่งแปลกใหม่
•
อำนวยประโยชน์สุขให้แก่บุคคล
•
ช่วยให้เข้าใจปัญหาและแก้ปัญหาได้ดี
•
ช่วยให้บุคคลประสบความสำเร็จ
•
ช่วยให้ปรับตัวได้ดี
-
ความคิดสร้างสรรค์ไม่สามารถบังคับให้เกิดขึ้นได้
แต่สามารถส่งเสริมให้เกิดขึ้นได้
แต่สามารถส่งเสริมให้เกิดขึ้นได้
แนวคิดทฤษฎีทางความคิดสร้างสรรค์
แนวคิดและทฤษฎีโครงสร้างทางปัญญาของ Guilford
•
อธิบายความสามารถของสมองมนุษย์เป็นแบบจำลอง
3 มิติ
มิติที่ 1 เนื้อหา
(ข้อมูลหรือสิ่งเร้าที่เป็นสื่อในการคิด)
(ข้อมูลหรือสิ่งเร้าที่เป็นสื่อในการคิด)
•
ภาพ
•
สัญลักษณ์
•
ภาษา
•
พฤติกรรม
มิติที่ 2 วิธีคิด
(กระบวนการทำงานของสมอง)
(กระบวนการทำงานของสมอง)
•
การรู้และเข้าใจ
•
การจำ
•
การคิดแบบอเนกนัย
•
การคิดแบบเอกนัย
•
การประเมินค่า
มิติที่ 3 ผลของการคิด
(การตอบสนองต่อข้อมูลหรือสิ่งเร้า)
(การตอบสนองต่อข้อมูลหรือสิ่งเร้า)
•
หน่วย
•
จำพวก
•
ความสัมพันธ์
•
ระบบ
•
การแปลงรูป
•
การประยุกต์
ทฤษฎี Constructivism
•
เด็กเรียนรู้เอง
•
เด็กคิดเอง
•
ครูกับเด็กเรียนรู้ไปด้วยกัน
•
สร้างองค์ความรู้ใหม่ด้วยตนเอง
ทฤษฎีของ Torrance
ความคิดสร้างสรรค์เป็นกระบวนการของความรู้สึกต่อปัญหา
แล้วรวบรวมความคิดตั้งเป็นสมมติฐาน และเผยแพร่ผลที่ได้จากการทดสอบ
•
ขั้นที่ 1 การพบความจริง
•
ขั้นที่ 2 การค้นพบปัญหา
•
ขั้นที่ 3 การตั้งสมมติฐาน
•
ขั้นที่ 4 การค้นพบคำตอบ
•
ขั้นที่ 5 ยอมรับผล
บรรยากาศที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
•
เด็กรู้สึกปลอดภัย
•
ให้เด็กได้ลองเล่นคนเดียว
•
ได้สำรวจ
ค้นคว้า และสร้างสรรค์ด้วยตนเอง
•
ขจัดอุปสรรค
•
ไม่มีการแข่งขัน
•
ให้ความสนใจเด็ก
ลักษณะของเด็กที่มีความคิดสร้างสรรค์
•
มีไหวพริบ
•
กล้าแสดงออก
•
อยากรู้อยากเห็น
•
ช่างสังเกต
•
มีอารมณ์ขัน
•
มีสมาธิ
•
รักอิสระ
•
มั่นใจในตนเอง
•
อารมณ์อ่อนไหวง่าย
•
ไม่ชอบการบังคับ
•
ชอบเหม่อลอย
•
ซาบซึ้งกับสุนทรียภาพ
•
มีความวิจิตรพิสดาร
•
ชอบสร้างแล้วรื้อ
รื้อแล้วสร้างใหม่
•
ใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา
กิจกรรมที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
Torrance ได้กล่าวถึงลักษณะของกิจกรรมที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ไว้
3 ลักษณะ
•
ลักษณะที่ 1 ความไม่สมบูรณ์ การเปิดกว้าง (Incompleteness, Openness)
•
ลักษณะที่ 2 การสร้างบางอย่างขึ้นมา และนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์
(Producing Something and Using It)
(Producing Something and Using It)
•
ลักษณะที่ 3 การใช้คำถามของเด็ก
(Using Pupil Question)
(Using Pupil Question)
1. คำถามที่ส่งเสริมความคิดคล่องแคล่ว
•
คิดให้ได้มากที่สุด
2. คำถามที่ส่งเสริมความคิดริเริ่ม
•
คิดหรือทำสิ่งที่ไม่เคยมีใครคิดหรือทำมาก่อน
3. คำถามที่ส่งเสริมความคิดยืดหยุ่น
•
ได้คำตอบที่หลากหลาย
4. คำถามที่ส่งเสริมความคิดละเอียดลออ
•
คิดให้เห็นรายละเอียดปลีกย่อยต่างๆ
แนวทางการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของ Torrance
•
ส่งเสริมให้เด็กถาม
•
เอาใจใส่ความคิดของเด็ก
•
ยอมรับคำถามของเด็ก
•
ชี้แนะให้เด็กหาคำตอบด้วยตนเอง
•
แสดงให้เด็กเห็นว่าความคิดของเด็กมีคุณค่า
•
เปิดโอกาสให้เด็กได้เรียนรู้อยู่เสมอ
•
ค่อยเป็นค่อยไป
•
ยกย่องชมเชย
•
ไม่มีการวัดผล
การตั้งคำถาม 5W1H
•
Who ใคร
•
What อะไร
•
Where ที่ไหน
•
When เมื่อไหร่
•
Why ทำไม
•
How อย่างไร
ต่อมาคุณครูให้ทำกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 พับจรวดจากกระดาษ 1 แผ่น แล้วให้ทุกคนมาปาจรวดให้ลงกล่อง
กิจกรรมที่ 2 เกมลากเส้น 4 เส้นผ่านทั้ง 9 จุดโดยไม่ยกปากกา
กิจกรรมที่ 3 คุณครูให้นักศึกษาจับคู่และแจกกระดาษร้อยปอนด์ คู่ละ 1 แผ่นให้นักศึกษาเลือกสีคนละ 1 แท่ง จากนั้นคุณครูก็เปิดเพลงและให้นักศึกษาเขียน ภาพลงในกระดาษอย่างอิสระ และให้เชื่อมโยงจากภาพที่เราวาด ว่าเป็นภาพอะไร ดังต่อไปนี้
ความรู้ที่ได้รับ
- ได้ร้องเพลงภาษาอังกฤษสำหรับเด็กปฐมวัย
- ได้รู้ความหมาย และองค์ประกอบ ของความคิดสร้างสรรค์ และทฤษฎีเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์
- ได้รู้จากการทำกิจกรรมความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย
การประเมิน
ประเมินตนเอง
เข้าเรียนตรงเวลาตั้งใจเรียนตั้งใจทำกิจกรรม
ประเมินเพื่อน
เพื่อนตั้งใจเรียนและทำกิจกรรมมาก
ประเมินคุณครู
คุณครูเข้าสอนตรงเวลา สร้างบรรยากาศให้นักศึกษาน่าเรียนอยู่เสมอ มีวิธีการสอนที่หลากหลาย ให้ทำกิจกรรม อยู่เสมอทำให้นักศึกษาเรียนอย่างสนุก
- ได้ร้องเพลงภาษาอังกฤษสำหรับเด็กปฐมวัย
- ได้รู้ความหมาย และองค์ประกอบ ของความคิดสร้างสรรค์ และทฤษฎีเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์
- ได้รู้จากการทำกิจกรรมความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย
การประเมิน
ประเมินตนเอง
เข้าเรียนตรงเวลาตั้งใจเรียนตั้งใจทำกิจกรรม
ประเมินเพื่อน
เพื่อนตั้งใจเรียนและทำกิจกรรมมาก
ประเมินคุณครู
คุณครูเข้าสอนตรงเวลา สร้างบรรยากาศให้นักศึกษาน่าเรียนอยู่เสมอ มีวิธีการสอนที่หลากหลาย ให้ทำกิจกรรม อยู่เสมอทำให้นักศึกษาเรียนอย่างสนุก
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น